วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สาเหตุ
เหตุการณ์เริ่มมาจากการที่จอมพลถนอม กิตติขจร ทำการรัฐประหารตัวเองในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 โดยนักศึกษาและประชาชนมองว่าเป็นการสืบทอดอำนาจตนเองจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งในขณะนั้นจอมพลถนอมจะต้องเกษียณอายุราชการเนื่องจากอายุครบ 60 ปี อีกทั้งจอมพลประภาส จารุเสถียร บุคคลสำคัญในรัฐบาล ก็มิได้รับการยอมรับเหมือนจอมพลถนอม แต่กลับต่ออายุราชการให้ตนเอง ประกอบกับข่าวคราวเรื่องทุจริตคอร์รัปชั่นในวงราชการต่าง ๆ สร้างความไม่พอใจอย่างมากแก่ประชาชน

[แก้] พ.ศ. 2516

29 เมษายน พ.ศ. 2516 เฮลิคอปเตอร์ทหารหมายเลข ทบ.6102 เกิดอุบัติเหตุตกที่ อ.บางเลน จ.นครปฐม มีดาราหญิงชื่อดังในขณะนั้นคือ เมตตา รุ่งรัตน์ โดยสารไปด้วย มีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 6 คน ในซากเฮลิคอปเตอร์นั้นพบซากสัตว์เป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นซากกระทิง ที่ทางผู้ที่ใช้ล่ามาจากทุ่งใหญ่นเรศวรซึ่งเป็นพื้นที่ป่าสงวน สร้างกระแสไม่พอใจในหมู่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นปลายเดือนพฤษภาคมและต้นเดือนมิถุนายน นิสิตนักศึกษากลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติฯ 4 มหาวิทยาลัยได้ออกหนังสือชื่อ บันทึกลับจากทุ่งใหญ่[1] เปิดโปงเกี่ยวกับกรณีนี้ ผลการตอบรับออกมาดีมาก จนขยายผลโดยนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหงกลุ่มหนึ่งออกหนังสือชื่อ มหาวิทยาลัยที่ไม่มีคำตอบ เป็นผลให้ ดร.ศักดิ์ ผาสุขนิรันดร์ อธิการบดีสั่งลบชื่อนักศึกษาแกนนำ 9 คนออก ซึ่งทำให้เกิดการประท้วงจนนำไปสู่การชุมนุมในวันที่ 21 และ 22 มิถุนายน ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ท้ายสุด ดร.ศักดิ์ ต้องยอมคืนสถานะนักศึกษาทั้ง 9 คน และดร.ศักดิ์ ก็ได้ลาออกไปเพื่อแสดงความรับผิดชอบ

[แก้] เริ่มต้นเหตุการณ์

6 ตุลาคม มีบุคคลร่วมลงชื่อ 100 คน เพื่อเรียกร้องขอรัฐธรรมนูญ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลหลากหลายอาชีพ หลายวงการ เช่น นักวิชาการ นักการเมือง นักคิด นักเขียน นิสิต นักศึกษา เป็นต้น จากนั้น บุคคลเหล่านี้ราว 20 คน นำโดย นายธีรยุทธ บุญมี ได้เดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญตามสถานที่ต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เช่น ประตูน้ำ, สยามสแควร์, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยอ้างถึงใจความในพระราชหัตถ์เลขาของรัชกาลที่ 7 ที่ส่งถึงรัฐบาลถึงสาเหตุที่ทรงสละราชสมบัติ แต่ทางตำรวจนครบาลจับได้เพียง 11 คน และจับขังทั้ง 11 คนนี้ไว้ที่โรงเรียนตำรวจนครบาลบางเขนและนำไปขังต่อที่เรือนจำกลางบางเขน พร้อมตั้งข้อหาร้ายแรงว่า เป็นการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ โดยห้ามเยี่ยม ห้ามประกันเด็ดขาด จากนั้นจึงได้มีการประกาศจับ นายก้องเกียรติ คงคา นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง และตามจับ นายไขแสง สุกใส อดีต ส.ส.จ.นครพนม ขึ้นอีก รวมทั้งหมดเป็น 13 คน โดยกล่าวหาว่า นายไขแสงเป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลังการแจกใบปลิวครั้งนี้ ซึ่งบุคคลทั้ง 13 นี้ ได้ถูกเรียกขานว่าเป็น "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้สร้างความไม่พอใจให้เกิดขึ้นครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนอย่างมาก จนนำไปสู่การชุมนุมใหญ่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งในขณะนั้นเป็นช่วงของการสอบกลางภาคด้วย แต่ทางองค์กรนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อมธ.) ได้ประกาศและติดป้ายขนาดใหญ่ไว้ว่า "งดสอบ" พร้อมทั้งยื่นคำขาดให้ทางรัฐบาลปล่อยตัวทั้งหมดนี้ก่อนเที่ยงวันเสาร์ที่ 13 ตุลาคม แต่เมื่อถึงเวลาแล้วรัฐบาลก็หาได้ยอมกระทำไม่

[แก้] การจลาจล

การเดินขบวนครั้งใหญ่จึงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ออกไปตามถนนราชดำเนิน สู่ลานพระบรมรูปทรงม้า โดยมีแกนนำเป็นนักศึกษาและมีประชาชนเข้าร่วมด้วยจำนวนมาก (คาดการกันว่ามีราว 500,000 คน) แกนนำนักศึกษาได้เข้าพบเจรจากับรัฐบาลและบางส่วนได้เข้าเฝ้า ฯ จนได้ข้อยุติเพียงพอที่จะสลายตัว แต่ทว่าด้วยอุปสรรคทางการสื่อสารและมวลชนที่มีอยู่เป็นจำนวนมากไม่อาจควบคุมดูแลได้หมด ก็นำไปสู่การนองเลือดในเช้าตรู่ของวันอาทิตย์ที่ 14 ตุลาคม เมื่อเกิดการปะทะระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐและประชาชนที่บริเวณหน้าพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ด้านถนนราชวิถีตัดกับถนนพระราม 5 เมื่อกลุ่มผู้ชุมนุมจะสลายตัวกลับทางนั้น แต่ทางเจ้าหน้าที่ไม่ยอมให้ผ่าน จึงเกิดการปะทะกันจนกลายเป็นการจลาจล และลุกลามไปยังสนามหลวง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และถนนราชดำเนิน ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เวลาบ่าย พบเฮลิคอปเตอร์ลำหนึ่งบินวนอยู่เหนือเหตุการณ์และมีการยิงปืนลงมาจากเฮลิคอปเตอร์ลำนั้นเพื่อสลายการชุมนุม โดยผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ยืนยันว่าบุคคลที่ยิงปืนลงมานั้นคือ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร
ต่อมาในเวลาหัวค่ำ วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยประกาศว่า จอมพลถนอม ได้ลาออกจากตำแหน่งแล้ว และมีพระบรมราชโองการโปรดแต่งตั้ง นายสัญญา ธรรมศักดิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงมีพระราชดำรัสแถลงออกโทรทัศน์ด้วยพระองค์เอง แต่ทว่าเหตุการณ์ยังไม่สงบโดยกลุ่มทหารได้เปิดฉากยิงเข้าใส่นักศึกษาและประชาชนอีกครั้งหลังจากพระราชดำรัสทางโทรทัศน์เพียงหนึ่งชั่วโมงเมื่อนักศึกษาพยายามพุ่งรถบัสที่ไม่มีคนขับเข้าใส่สถานีตำรวจ ที่อนุเสาวรีย์ประชาธิปไตยเนื่องจากผู้ชุมนุมนับพันยังไม่วางใจในสถานการณ์ได้มีการประกาศท้าทายกฎอัยการศึกในเวลา 22.00 น. และ ประกาศว่าจะอยู่ที่อนุเสาวรีย์ประชาธิปไตยทั้งคืนเพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้ถูกหลอกอีกครั้ง ซึ่งในตอนหัวค่ำวันที่ 15 ได้มีประกาศว่า จอมพลถนอม จอมพลประภาส และ พ.อ.ณรงค์ ได้เดินทางออกนอกประเทศแล้ว เหตุการณ์จึงค่อยสงบลง และวันที่ 16 ตุลาคม ผู้ชุมนุมและประชาชนต่างพากันช่วยทำความสะอาดพื้นถนนและสถานที่ต่าง ๆ ที่ได้รับความเสียหาย

[แก้] หลังเหตุการณ์

ภายหลังเหตุการณ์นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ได้เสด็จเยี่ยมผู้ได้รับบาดเจ็บตามโรงพยาบาลต่าง ๆ และสำหรับผู้เสียชีวิตทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการพระราชทานเพลิงศพผู้เสียชีวิตที่ทิศเหนือท้องสนามหลวงด้วย และอัฐินำไปลอยอังคารด้วยเครื่องบินของกองทัพอากาศที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา อ่าวไทย
คณะรัฐมนตรี มีมติให้ก่อสร้าง อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา ขึ้นที่ สี่แยกคอกวัว ถนนราชดำเนินกลาง โดยกว่าจะผ่านกระบวนต่าง ๆ และสร้างจนแล้วเสร็จนั้น ต้องใช้เวลาถึง 28 ปี
หลังจากเหตุการณ์ครั้งนี้ มีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ โดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประชาชนต่าง ๆ จากหลายภาคส่วน โดยไม่มีนักการเมืองร่วมอยู่ด้วยเลย และใช้สนามม้านางเลิ้งเป็นสถานที่ร่าง โดยเรียกกันว่า "สภาสนามม้า" จนนำไปสู่การเลือกตั้งในต้นปี พ.ศ. 2518 ซึ่งในช่วงระยะเวลานั้น มีคำเรียกว่าเป็นยุค "ฟ้าสีทองผ่องอำไพ" แต่ทว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ ในประเทศยังไม่สงบ มีการเรียกร้องและเดินขบวนของกลุ่มชนชั้นต่าง ๆ ในสังคม ประกอบกับสถานการณ์ความมั่นคงในประเทศรอบด้าน แม้รัฐบาลชุดใหม่ที่มาจากการเลือกตั้งก็ไม่มีเสถียรภาพเพียงพอที่จะแก้ไขสถานการณ์ได้ จนนำไปสู่เหตุนองเลือดอีกครั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อปี พ.ศ. 2519 คือ เหตุการณ์ 6 ตุลา
นอกจากนี้แล้วเหตุการณ์ 14 ตุลา นับเป็นการลุกฮือของประชาชน (People's uprising) ครั้งแรกที่ประสบความสำเร็จในยุคศตวรรษที่ 20 และยังเป็นแรงบันดาลใจให้กับภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้น[2]
  

วันศุกร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

                                                            เพื่อนรู้จัย ณ รั้วพีระยา
                                                           เพื่อนเอ้ยเพื่อนรู้ไหม่?
                                                ความจริงที่เป็นอยู่ ชั่งหดหูใจเหลือเกิน
                                                ยามร่วมสุข ทุกปมเราช่วยคลาย
                                                แต่จัยหาย เมื่อถึงวันต้องจากลา
ขึ้นชื่อว่าเพื่อนก็หมายถึงคนที่อยู่ข้างๆเรายามเรา ทุกข์ สุข เพื่อนก็ไม่เคยทิ้งกัน  ไม่ว่าความฝันนั้นจะไกล สักเท่าไรจะหกล้ม ซมซ่านเมื่อใด เพื่อนจะปลอบจัย  มั้ยมีคนรู้จัยไม่มีใครรักและจริงจัย เหมือนเพื่อนเรา จะทำงัยตามจัยแต่ราเพื่อนเรารักจริง  ถ้าเปรียบเพื่อนเหมื่อนสิ่งที่ร่างกายต้องการเพื่อนก็คง เหมีอ น้ำเปล่าไม่มีรสชาติแต่ขาดกันไม่ได้การที่เราจะเลือกเพื่อนสักคนไม่จำเป็นต้องดูที่หน้าตาแต่เพื่อนที่แท้จริงคือคนที่จะจูงมือเราก้าวสู่ความสำเร็จไปพร้อมๆกันถึงแม้ยามมีปัญหา อาจไม่เข้าใจกันมีทะเลาะกันบ้างแต่เราก็ช่วยกันฝ่าฝันเวลาที่แสนปวดใจนั้นไปพร้อมๆกันเมื่อมีวันพบก็มีวันจากมันกลายเป็นธรรมเนียงของคำว่า เพื่อนไปแล้ว ถึงแม้ว่าร่างกายจากกันแต่ความผูกพันธุ์ที่มีนั้นตลอดระยะเวลาเกือบ3ปีเต็มนั้นภาพวันวานจะมั้ยเป็นแค่อดีต แต่มันจะเป็นภาพที่ตราตรึงอยู่ในขั้วหัวใจดวงนี้ตลอดไป
สุดท้ายนี้ขอสัญญาว่าจะมั่ยมีวันลืมคนที่สำคัญนัยชีวิตที่คอยร่วมทุกข์ร่วมสุข ภาพวันวานยังคงอยู่นัยส์
ของเพื่อนคนนี้ตลอดกาลนานตราบชั่วชีวิตจะหาไม่
     
 forever  friends
-

เพื่อนกันตลอดปัย

มีนามว่า พาตีเมาะ สกุล  สะอุ
 เรียกสั้นๆ เดะเมาะ
แหล่งที่อยู่  124  ม.๓ ต.กาบัง อ.กาบัง จ.ยะลา
จะเอ๋อออ 25 กันยา2538
ปัจจุบันศึกษา พีระยานาวินฯ
อนาคต อยากศึกษาที่ มอ ปัตตานี
ใฝ่ฝัน  คุณหมอสาว
สีที่ปลื้ม ชมพู่ ม่วง
คติ มั่ยมีอะรัยได้มาง่ายๆ หากขาดความพยายาม
สเปก รูปหล่อ พ่อรวย
                                                      สัตว์ที่ชอบ ปลาทอง                                                       สถานที่สุดโปรด  แหลมพรมเทพ
                                                      สถานที่ใฝ่ฝัน  ทะเลแดง
                                                      ดอกไม้ที่ชอบ  ลิ้นลี่ กุหลาบ
                                                      เจอแล้วสลบ ชีวอน อีมินโฮ
                                                      กรื้ดๆ  2pm
                                                     หนังรัก  บ้างคนแคร์ แคร์บ้างคน
                                                      เพลงรัก มากมาย

วันพฤหัสบดีที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

มีนามว่า  นูรีซัน   สกุล   ดาโอ๊ะ
ที่รู้จัก  ซัน
เสียงร้องครั้งแรก  ๑๖   มีนาคม   ๒๔๓๙
ที่พักจัย  ๓  ม.๑  ต.ท่าธง  อ.รามัน  จ.ยะลา
ศึกษาที่พีระยานาวินฯ
มหาลัยนัยฝัน วิทยาลัยอิสลามยะลา
คติประจำจัย  มั่ยมีคำว่าสายสำหรับการเริ่มต้น
ความฝัน  นักวอลเลย์ทีมชาติ
ว่างๆ  ฟังเพลง  ร้องเพลง
เพลงสุดโปรด  ง่ายๆแต่เหงา
กรื้ดดสลบ  ณเดช หมาก
 นักร้องสุดเท่  ซี
สถานที่ประทับจัยส์   ภูกระดึง
                                                 ประเทศที่โรแมนติก ปารีส
                                                 ที่สวยที่สุด  มัลดีฟ
                                                 สเปก มั่ยหล่อแต่มีอีมาน
                                                 สิ่งที่รักที่สุด ครอบครัว 
มีนามว่า  กูนัชดา   สกุล  กาลีกาตะโป
หรือที่รู้จัก  ดา  นัชดา
ฟ้าส่งมา  ๒๔  พฤษจิกายน  ๒๕๓๘
มาสู่ขอ  ๒  ม.๓  ต.บาโร๊ะ  อ.ยะหา  จ.ยะลา
ศึกษาที่  พีระยานาวินฯ
มหาลัยนัยฝัน  ม.รังสิต
ว่างๆ  อ่านหนังสือ ฟังเพลง
ความฝัน  ครูสอนเด็กประถมวัย
คติ  ความพยายามอยู่ที่ไหน  ความสำเร็จอยู่ที่นั้น
สีที่ชอบ  สีฟ้า  เขียว  ม่วง
อาหารจานโปรด  ต้มยำ  ผัดผัก
สัตร์รัก  กระต่าย
สุดรัก  ครอบครัว
ดาราขวัญจัย  แพนเค้ก
นักร้องที่ติดตาม  กัน
กีฬาโปรด  วอลเลย์บอล



มีนามว่า  ดาริซมา  สกุล  ขุนโชติชู
หรือที่รู้จัก  ฮา
อุแว๊กก  ๑ กรกฎา  ๒๕๓๗
ที่หลบฝนหลบแดด    ๑๖๖/๑ ม.๖  ต.ลำไพล  อ.เทพา  จ.สงขลา
ปัจจุบันศึกษา พีระยานาวินฯ
อนาคต อัสฮารอียีปต์
ความฝัน กะสอนจริยธรรม
คติ ข้าพเจ้าเปลคนเดินช้า  แต่มั่ยมีวันหันหลังกลับ
สีที่ชอบ สีฟ้า
สัตว์ที่ชอบ แมว                                        คำฮิตติดปาก  สลามจร้าา
                                        ว่างๆ อ่านหนังสือ
                                        สิ่งที่รักที่สุด ครอบครัว
คุณแม่ตั้งหั้ย   สุกัญญา    ยื่มคุณพ่อมาชั่วคราว   สาเมาะดามัน
ที่รู้จัก  ยา
ลืมตาดูโลก  ๒๓  มกราคม   ๒๕๓๘
ที่หลบฝน  ๒๘/๒  ม.๑  ต.ทุ่งพอ  อ.สะบ้าย้อย  จ.สงขลา 
ปัจจุบันศึกษา  พีระยานาวินฯ
คณะนัยฝัน  สาธารณะสุข
คติประจำจัย  อยากสู่งต้องเขย่ง  อยากเก่งต้องขยัน
กีฬาโปรด  วอลเลย์บอล
ยามว่าง  อ่านหนังสือ  ฟังเพลง
อาชีพที่ใฝ่ฝัน  พยาบาล
อาหารจานโปรด  ผัดเนื้อแดง  ต้มยำ
ผักที่เกรียด  ผักชี
                                                   ผลไม้ที่ชอบ  มะม่วง ฝรั่ง
                                                   ผลไม้ที่เกรียด  ลำใย
                                                   สัตว์รัก  น้องแมว และ น้องกระต่าย
                                                   ดาราขวัญจัย  กอฟล์-ไมค์  ขวัญ




 มีนามว่า ฮากีมะห์   สกุล ตีมุง
เรียกสั้นๆ มะห์
ภูมิลำเนา ๒๖/๑ ม ๕ ต ปะแต ยะหา ยะลา
ปัจจุบัน เรียนที่พีระยานาวินฯ
สวัสดีหมอ  ยี่สิบสาม  ๑  ๒๕๓๘
คติ  ซอบัร อุสหอ akan jaya
สิ่งที่อยากเป็น  ครู  พิธีกร
กีฬาโปรด   โบว์ลิ่ง
                                        อาหารจานโปรด  เนื้อแดง
                                        ยามว่าง โม้กับเพ้น
                                        มหาลัยนัยฝัน  หัวเฉียว
                                        คำฮิตติดปาก  สายัง สือรีบู  สายัง
                                         ประสบการณ์ตรึงจัยส์  อกหัก
                                         คำที่เกลียดสุดๆ  รอและรอ
                                        คำที่อยากได้ยิน  คึดถึงจัง
                                       หนังสุดโปรด  โปรดส่งครัยมารักฉันที
                                      เพลงสุดฮิต  รักมากมาย
                                      สุดที่รัก บี้
                                      รักที่สุด พ่อกับแม่ 
                                         

วันอังคารที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

                                                                     สมาชิกในกลุ่ม 
    1. น.ส   ฮากีมะห์   ตีมุง      
     2. น.ส  นูรีซัน      ดาโอ๊ะ
    3.  น.ส   กูนัชดา  กาลีกาตะโป
    4.  น.ส  พาตีเมาะ   สะ อุ

   5.  น.ส    สุกัญญา  สาเมาะดามัน
   6. น.ส    ดาริซมา   ขุ่นโชติชู